วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558




                                          บันทึกการเรียนครั้งที่ 5

                       ประจำวันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์  พ.ศ. 2558




ความรู้ที่ได้รับจากการเรียน
เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์


      เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐาน ในชั้นปฐมศึกษา เน้นลงมือกระทำ จับต้องได้เป็นรูปธรรม ซึ่งการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนนั้น อาจจัดเป็นโมเดลการศึกษา หรือ ให้เด็กนำวัสดุ สื่อ การเรียนมาเอง และนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน


กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


ทักษะ

นำเสนอบทความ
โดย นางสาวชนากานต์ แสนสุข
สรุป
การประสบการณ์จัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การให้เด็กรู้คณิตศาสตร์จะทำให้เด็กมี้หตุผล เข้าใจ วิธีกระบารการคิดเพื่อ
- พัฒนาความคิดรวบยอด การบวก การลบ
- รู้กระบวรการหาคำตอบ เช่น การชั่งน้ำหนัก
- รู้จักคำศัพท์และสัญลักษณ์
- รู้จักการนับ การวัด
สามารถทำได้ตั้งแต่เด็ก ควรจัดประสบการณ์จัดการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสม
                                                                 
                                      เพลง จัดแถว

               
สองมือเราชูตรง        แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า
                                         ต่อไปย้ายมาข้างหน้า แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง


                                           เพลง ซ้าย-ขวา


ยืนให้ตัวตรง                    ก้มหัวลงตบมือแผละ

แขนซ้ายอยู่ไหน                 หันตัวไปทางนั้นแหละ



                                             เพลง  นกกระจิบ



   นั่นนกบินมาลิบ ลิบ       นกกระจิบ 1 2 3 4 5 

              อีกฝูงบินล่องลอยมา       6 7 8 9 10 ตัว



         ตารางแสดงการมาเรียนขอนักเรียนในห้องเรียน


   จำนวนนักเรียนทั้งหมด



จำนวนนักเรียนที่มาเรียน



   จำนวนนักเรียนที่มาเรียน และ ไม่มาเรียน



  การนำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้
 เนื่องด้วยตารางนั้นเป็นภาพ จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้และจดจำได้ง่าย เพราะ เด็กในวัยนี้จะเกิดการเรียนรู้ได้เร็วจากภาพและสัญลักษณ์  สอนเด็กในเรื่องการนับ และ รู้จักการสังเกตุ 


   
  สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ครฺตศาสตร์ แบ่งเป็น 6 สาระด้วยกัน

  1. จำนวนและการดำเนินการ  เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนจริง
  2. การวัด   เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
  3. เรขาคณิต  รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง
  4. พีชคณิต   เข้าใจแบบรูปที่สัมพันธ์กัน
  5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น  รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม นำเสนอในรูปแผนภูมิอย่างง่าย
  6. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์  ใช้แก้ปัญหา ให้เหตุผล

       คุณภาพของเด็กเมื่อเรียนจบ

  • มีความคิดเชิงคณิต เช่น จำนวนนับ 1 ถึง 20  เข้าใจหลักการนับ
  • มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
  • มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต เช่น ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
  • มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สีที่สัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
  • มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิอย่างง่าย
  • มีทักษะและกระบวนการทางคณิตที่จำเป็น

 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สู่การปฎิบัติ





สาระที่ 1. เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง



การรวบรวมและการแยกกลุ่ม



ความหมายของการรวม



การรวมสิ่งต่างๆสองกลุ่มที่มีผลรวมไม่เกิน 10 


สาระที่ 2 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน เวลา


สาระที่ 3 รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง


รู้จักจำแนกรูปเรขาคณิตและเข้าใจ การเปลี่ยนแปลงเรขาคณิตที่เกิดจากการกระทำ


สาระที่4 แบบรูปรูปและความสัมพันธ์


สาระที่ 5 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งเเวดล้อมและนำเสนอข้อมูลอย่างงาย


สาระที่ 6 แก้ปัญหา การใช้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อตวามหมายทางคณิตศาสตร์




ทักษะ

- ระดมความคิด แบบทดสอบก่อนเรียน

- ตอบคำถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน

-  ทำกิจกรรมเช็คชื่อเข้าเรียน


วิธีการสอน


- การใช้คำถาม

- ใช้เพลงประกอบในการสอน

- บรรยายประกอบ power point

- ยกตัวอย่างประกอบในการสอน

ประเมินสภาพห้องเรียน

อุปกรณ์ในการสอนสะดวกต่อการใช้งาน

-ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย

ประเมินตนเอง



- มาเรียนตรงเวลา  พูดคุยขณะเรียน และง่วงนอน 


ประเมินเพื่อน

มีเพื่อนบางส่วนเข้าเรียนสาย มีคุยกันบ้างบางเวลาที่อาจารย์สอนและแต่งกายผิดระเบียบ

ประเมินอาจารย์

อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีให้ร้องเพลงด้วยเพื่อกระตุ้นไม่ให้ง่วงมาก  และมีการพักประมาณ 10 นาทีเพื่อผ่อนคลายสมองและเข้าห้องน้ำ กินน้ำ 





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น